หนึ่งเดียวในภาคอีสาน ชาวไทดำบ้านนาป่าหนาด กับการประยุกต์เรื่องความเชื่อ

เมื่อเวลา 13.00 น. วันที่ 25 เม.ย. 2566 ครบรอบ 211 ปี ที่ผู้สื่อข่าวเคยรายงานเกี่ยวกับวัฒนธรรมด้านความเชื่อของ”ไทดำบ้านนาป่าหนาด” หรือชาวบ้านเรียกว่า”บ้านโคกซ่งดำ” ต.เขาแก้ว อ.เชียงคาน จ.เลย หนึ่งเดียวของจังหวัดเลยและภาคอีสาน

ชาวไทดำบ้านนาป่าหนาดเป็นหมู่บ้านที่มีประชากรเชื้อสาย “ไหดำ” หรือไทดำ หมู่บ้านเดียวใน จนกว่าจะนำศพไปยังป่าช้าให้เรียบร้อยก่อน จึงจะเริ่มงานใหม่ที่ยังคงมีการสืบสานประเพณีไว้อย่างเคร่งครัดห้าม เด็กทุกคนดูศพ รวมทั้งห้ามทำงานทุกอย่างเด็ดขาด เหตุผลที่ไม่ให้มีการมีเอกลักษณ์สำคัญคือ ว่า จะเป็นลางร้ายเพราะเวลาที่หามศพไปป่าช้า เพราะชาวบ้านมีความเชื่อกันประชากรในหมู่บ้านนี้มีเชื้อสายเป็นไทดำ”บ้านโคกโซงดำ” ในหมู่บ้านบ้านนาป่าหนาดชาวไทดำจะแต่งกายด้วยชุดสีดำ ลักษณะการตั้งบ้านเรือนนิยมปลูกบ้านประจำเรียงรายตามถนภายในหมู่บ้าน ชาวนาป่าหนาดมีสุสานประจำ

 

 

 

งานศพของชาวไทดำบ้านนาป่าหนาดนั้น จะไม่มีพระเข้ามามีมายาวนาน เช่น ไม่นำพระชั้นบ้านหรือไม่มีพระเดินนำจากการศึกษาและสอบถามผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้าน ทราบถึงเชื้อสาย หน้าศพ เพราะถือกันว่า “พระ” กับ “ผี” ไม่ถูกกัน ไทดำ เป็นเชื้อสายชนชาติไทยสาขาหนึ่ง มีความเชื่อถือว่าเป็นการผิดผีจะทำให้ครอบครัวนั้น ไม่สบาย ด้วยเหตุนี้ชาวบ้านเรียกต่างๆ และที่จัดทำประจำทุกปีอีกพิธีคือ กะลอห้อง คือบ้านเรือนชาวไทดำจะมีป่องที่มุมของบ้านส่วนใหญ่เป็นชั้น 2 ของบ้าน เมื่อถึงวันก็มีพิธีเลี้ยงผีบรรพบุรุษ อาหารต่างๆจะไม่มีความเต็มหรือไร้น้ำปลาหรือเครื่องปรุงรสเค็ม

 

 

ประวัติโดยย่อของชาวไทยดำอย่างคร่าวๆ ชาวไทดำที่ตั้งรกรากอยู่ที่นี่นั้น อดีตเคยระหกระเหินเดินทางเข้ามาเกี่ยวข้องในทุกๆ เรื่องย้ายถิ่นฐานหลายแห่ง จนมาถึงบ้านนาป่าหนาดซึ่งเป็นที่สุดท้ายปักหลัก เช่น ไม่นำพระขึ้นบ้าน หรือไม่มีพระถาวรอยู่กันมาจนถึงปัจจุบันนี้ เนื่องจากมีความอุดมสมบูรณ์ มีทำเลที่ตั้งดีชาวไทดำมีประเพณีความเชื่ออย่างหนึ่งที่ยังคงถือปฏิบัติจนถึง เดินนำหน้าศพ เพราะถือกันว่าปัจจุบันถึงแม้ว่าจะลดน้อยลงไปข้างก็ตาม

 

 

 

 

ปัจจุบันได้ตั้งขึ้นเป็น”ศูนย์วัฒนธรรมไทดำบ้านนาป่าหนาด” ต.เขาแก้ว อ.เชียงคาน จ. เลย เป็นตำบลที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม คือทั้งวัฒนธรรม คริสต์ และไทดำ ดังคำขวัญตำบลที่ว่า “ดินแดนสามวัฒนธรรม สูงล้ำภูเขาแก้ว เพริศแพร้วเมือง เลื่องชื่อเกษตรอินทรีย์” การส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น มีการจัดงานขึ้นทุกปี เพื่อให้คนในท้องถิ่นมีความรักสามัคคีปรองดองกันการร่วมกันจัดกิจกรรม อนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น และเพื่อเป็นการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน เพื่อก้าวเข้าสู่ความเป็นอาเชี่ยน ด้านวัฒนธรรมท้องถิ่น ได้จัดขึ้นเป็นปีที่ 23 คือ(งานตุ้มโฮมพี่น้องไต” เนื่องด้วยวันที่ 6 เมษายน2566 ตรงกับวันจักรี หรือวันรำลึกพระมหากษัตราธิราชในราชวงษ์จักรี เพื่อรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณจึงจัดวันที่ 6 เมษายน ของทุกปีเป็นวันรวมใจในการจัดงาน เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นและวัฒนธรรมไทดำให้สืบทอดต่อไปอย่างยั่งยืน และสู่การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมท้องถิ่นกับภูมิภาคประชาคมอาเซียน อีกด้วย โดยมีกิจกรรมประกอบด้วย ขบวนแห่ การแสดงพื้นเมืองไทดำ การจัดแสดงและจำหน่ายสินค้าพื้นมีเมือง การสาธิตแลทอผ้าพื้นเมืองของไทดำ การแสดงวิถีชีวิตวัฒนธรรมไทดำ และนิทรรศการต่างๆ และฟ้อนแคนเพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไป ได้รับความสุขและสนุกสนาน.

 

 

ภาพ/ข่าว บุญชู ศรีไตรภพ จ.เลย